นิติกรรมอำพราง
Appearance
Thai
[edit]Etymology
[edit]From นิติกรรม (ní-dtì-gam, “juristic act”) + อำพราง (am-praang, “to hide; to conceal; to cover up”).
Pronunciation
[edit]Orthographic | นิติกรรมอำพราง n i t i k r r m ɒ å b r ā ŋ | |
Phonemic | นิ-ติ-กำ-อำ-พฺราง n i – t i – k å – ɒ å – b ̥ r ā ŋ | |
Romanization | Paiboon | ní-dtì-gam-am-praang |
Royal Institute | ni-ti-kam-am-phrang | |
(standard) IPA(key) | /ni˦˥.ti˨˩.kam˧.ʔam˧.pʰraːŋ˧/(R) |
Noun
[edit]นิติกรรมอำพราง • (ní-dtì-gam-am-praang) (classifier ราย)
- (law) juristic act done with a sham intention to cover up another juristic act, with which the doer intends to bind himself actually.
- ไชยยศ เหมะรัชตะ (1972) “นิติกรรมอำพราง”, in CUIR at Chulalongkorn University[1] (in Thai) (pdf), Bangkok: บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, retrieved 2019-01-14, page ง
- คู่กรณีทำนิติกรรมซ้อนกันไว้สองอัน อันหนึ่งเรียกว่า นิติกรรมอำพราง อีกอันหนึ่งเรียกว่า นิติกรรมที่ถูกอำพราง นิติกรรมอำพรางนั้นคู่กรณีทำขึ้นโดยเปิดเผย...ความจริงแล้วคู่กรณีไม่ต้องการให้มีผลผูกพันหรือบังคับ...(เพื่อ)ปกปิดหรืออำพรางนิติกรรมอีกอันหนึ่งซึ่งเป็นนิติกรรมที่คู่กรณีประสงค์จะให้ผูกพันกันอย่างแท้จริง
- kûu-gɔɔ-rá-nii tam ní-dtì-gam sɔ́ɔn gan wái sɔ̌ɔng an · an nʉ̀ng rîiak wâa · ní-dtì-gam-am-praang · ìik an nʉ̀ng rîiak wâa · ní-dtì-gam tîi tùuk am-praang · ní-dtì-gam-am-praang nán kûu-gɔɔ-rá-nii tam kʉ̂n dooi bpə̀ət-pə̌əi ... kwaam-jing lɛ́ɛo kûu-gɔɔ-rá-nii mâi dtɔ̂ng-gaan hâi mii pǒn pùuk-pan rʉ̌ʉ bang-káp ... (pʉ̂ʉa) bpòk-bpìt rʉ̌ʉ am-praang ní-dtì-gam ìik an nʉ̀ng sʉ̂ng bpen ní-dtì-gam tîi kûu-gɔɔ-rá-nii bprà-sǒng jà hâi pùuk-pan gan yàang tɛ́ɛ-jing
- The parties have performed two overlapping juristic acts: one called hiding juristic act, the other called hidden juristic act. The hiding juristic act has been done by the parties in an open manner...[despite] the fact that the parties did not want [any] binding or effective result [therefrom]... [This act was for] concealing or hiding the other juristic act, which is the juristic act the parties wished to be bound by actually.
- คู่กรณีทำนิติกรรมซ้อนกันไว้สองอัน อันหนึ่งเรียกว่า นิติกรรมอำพราง อีกอันหนึ่งเรียกว่า นิติกรรมที่ถูกอำพราง นิติกรรมอำพรางนั้นคู่กรณีทำขึ้นโดยเปิดเผย...ความจริงแล้วคู่กรณีไม่ต้องการให้มีผลผูกพันหรือบังคับ...(เพื่อ)ปกปิดหรืออำพรางนิติกรรมอีกอันหนึ่งซึ่งเป็นนิติกรรมที่คู่กรณีประสงค์จะให้ผูกพันกันอย่างแท้จริง
- กองผู้ช่วยผู้พิพากษาศาลฎีกา (2017) “คำพิพากษาย่อสั้น”, in คำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๐๘๓๔/๒๕๕๖[2] (in Thai), Bangkok: ค้นหาคำพิพากษาศาลฎีกา, retrieved 2019-01-14
- (แม้) นิติกรรมขายฝากจะเป็นนิติกรรมระหว่างโจทก์กับจำเลย ส่วนนิติกรรมการกู้ยืมเป็นนิติกรรมระหว่าง อ. กับจำเลย ก็ถือได้ว่า คู่กรณีในนิติกรรมทั้งสองนิติกรรมนั้นเป็นคู่กรณีเดียวกัน ฟังได้ว่า นิติกรรมขายฝากเป็นนิติกรรมอำพรางการกู้ยืม จึงตกเป็นโมฆะตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๕ วรรคหนึ่ง
- (mɛ́ɛ) · ní-dtì-gam kǎai-fàak jà bpen ní-dtì-gam rá-wàang jòot gàp jam-ləəi · sùuan ní-dtì-gam gaan-gûu-yʉʉm bpen ní-dtì-gam rá-wàang · à · gàp jam-ləəi · gɔ̂ tʉ̌ʉ dâai wâa · kûu-gɔɔ-rá-nii nai ní-dtì-gam táng sɔ̌ɔng ní-dtì-gam nán bpen kûu-gɔɔ-rá-nii diao-gan · fang dâai wâa · ní-dtì-gam kǎai-fàak bpen ní-dtì-gam-am-praang gaan-gûu-yʉʉm · jʉng dtòk bpen moo-ká dtaam · bprà-muuan-gòt-mǎai-pɛ̂ng-lɛ́-paa-nít · mâat-dtraa · nʉ̀ng-rɔ́ɔi hâa-sìp hâa · wák nʉ̀ng
- (Although) the juristic act of hire-purchase is a juristic act between the Plaintiff and the Defendant and the juristic act of loan is a juristic act between A and the Defendant, it could be deemed that the parties to the two juristic acts are the same parties. The juristic act of hire-purchase is thus considered a juristic act that hides the loan and becomes void in accordance with CCC, § 155, ¶ 1.
- (แม้) นิติกรรมขายฝากจะเป็นนิติกรรมระหว่างโจทก์กับจำเลย ส่วนนิติกรรมการกู้ยืมเป็นนิติกรรมระหว่าง อ. กับจำเลย ก็ถือได้ว่า คู่กรณีในนิติกรรมทั้งสองนิติกรรมนั้นเป็นคู่กรณีเดียวกัน ฟังได้ว่า นิติกรรมขายฝากเป็นนิติกรรมอำพรางการกู้ยืม จึงตกเป็นโมฆะตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๕ วรรคหนึ่ง
- ศาลฎีกา (2011) “คำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๑๒๒๘/๒๕๕๓”, in นิติกรรมอำพรางคู่กรณีต้องแสดงเจตนาทำนิติกรรมขึ้นสองนิติกรรม (in Thai), Bangkok: สำนักงานกฎหมายพีศิริทนายความ, retrieved 2019-01-14
- การให้ดังกล่าวมิได้เป็นการแสดงเจตนาลวงโดยสมรู้กับจำเลยเพื่อปกปิดนิติกรรมอีกนิติกรรมอย่างหนึ่งอย่างใด...สัญญาให้ที่ดินพิพาททั้งสองแปลงตามฟ้องจึงมิใช่นิติกรรมอำพรางที่โจทก์จะขอให้เพิกถอนได้
- gaan-hâi dang glàao mí dâai bpen gaan-sà-dɛɛng jèet-dtà-naa-luuang dooi sǒm-rúu gàp jam-ləəi pʉ̂ʉa bpòk-bpìt ní-dtì-gam ìik ní-dtì-gam yàang-nʉ̀ng-yàang-dai ... sǎn-yaa hâi tîi-din pí-pâat táng sɔ̌ɔng bplɛɛng dtaam fɔ́ɔng jʉng mí châi ní-dtì-gam-am-praang tîi jòot jà kɔ̌ɔ hâi pə̂ək-tɔ̌ɔn dâai
- The described gift is not a declaration of a sham intention through conspiracy with the Defendant to conceal any specific juristic act...Therefore, the contract of giving the two plots of land in dispute according to the Plaint is not a hiding juristic act of which the Plaintiff may apply for revocation.
- การให้ดังกล่าวมิได้เป็นการแสดงเจตนาลวงโดยสมรู้กับจำเลยเพื่อปกปิดนิติกรรมอีกนิติกรรมอย่างหนึ่งอย่างใด...สัญญาให้ที่ดินพิพาททั้งสองแปลงตามฟ้องจึงมิใช่นิติกรรมอำพรางที่โจทก์จะขอให้เพิกถอนได้
- “บิ๊กโจ๊กรวบ ๓๐ อินเดียทำนิติกรรมอำพราง”, in คมชัดลึก[3] (in Thai), Bangkok: คมชัดลึก, 2018 December 4, retrieved 2019-01-14
- ขบวนการจ้างหญิงไทยจดทะเบียนสมรสในลักษณะนิติกรรมอำพรางเพียงให้ได้ทะเบียนสมรสใช้เป็นหลักฐานในการยื่นขออนุญาตอยู่ต่อในราชอาณาจักร
- kà-buuan-gaan jâang yǐng tai jòt tá-biian-sǒm-rót nai lák-sà-nà ní-dtì-gam-am-praang piiang hâi dâai tá-biian-sǒm-rót chái bpen làk-tǎan nai gaan-yʉ̂ʉn kɔ̌ɔ à-nú-yâat yùu dtɔ̀ɔ nai râat-chá-aa-naa-jàk
- The gangs hired Thai women to seek marriage registration in a manner of hiding juristic act just for obtaining marriage certificates to be used as evidence in making applications for permission to continue the residency in the Kingdom.
- ขบวนการจ้างหญิงไทยจดทะเบียนสมรสในลักษณะนิติกรรมอำพรางเพียงให้ได้ทะเบียนสมรสใช้เป็นหลักฐานในการยื่นขออนุญาตอยู่ต่อในราชอาณาจักร
- ไตรธรรม หงษ์ทอง (2012) “ปัญหาการอาศัยหลักนิติกรรมอำพรางตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาปรับใช้ในสัญญาที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการหลบหลีกภาษีอากร”, in CUIR at Chulalongkorn University[4] (in Thai), Bangkok: คณะนิติศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, retrieved 2019-01-14
- จากการศึกษาพบว่า จากข้อจำกัดของหลักกฎหมายนิติกรรมอำพรางตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์กับประเด็นการกำหนดภาระการพิสูจน์ภายใต้หลักกฎหมายนิติกรรมอำพรางนั้นจึงทำให้หลักกฎหมายนิติกรรมอำพรางตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ไม่มีประสิทธิภาพที่เพียงพอที่จะนำมาใช้ในการต่อสู้กับปัญหาการหลบหลีกภาษีอากรได้
- jàak gaan-sʉ̀k-sǎa póp wâa · jàak kɔ̂ɔ-jam-gàt kɔ̌ɔng làk gòt-mǎai ní-dtì-gam-am-praang dtaam bprà-muuan-gòt-mǎai pɛ̂ng lɛ́ paa-nít gàp bprà-den gaan-gam-nòt paa-rá-gaan-pí-sùut paai-dtâai làk gòt-mǎai ní-dtì-gam-am-praang nán jʉng tam hâi làk gòt-mǎai ní-dtì-gam-am-praang dtaam bprà-muuan-gòt-mǎai pɛ̂ng lɛ́ paa-nít mâi mii bprà-sìt-tí-pâap tîi piiang-pɔɔ tîi jà nam maa chái nai gaan-dtɔ̀ɔ-sûu gàp bpan-hǎa gaan-lòp-lìik paa-sǐi-aa-gɔɔn dâai
- From the study [we] found that due to limitations in the legal principles [about] the hiding juristic act under the Civil and Commercial Code and the issues [concerning] the determination of the burden of proof under those legal principles [about] the hiding juristic act, the legal principles [about] the hiding juristic act under the Civil and Commercial Code lack sufficient capability to be used in combating tax evasion problems.
- จากการศึกษาพบว่า จากข้อจำกัดของหลักกฎหมายนิติกรรมอำพรางตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์กับประเด็นการกำหนดภาระการพิสูจน์ภายใต้หลักกฎหมายนิติกรรมอำพรางนั้นจึงทำให้หลักกฎหมายนิติกรรมอำพรางตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ไม่มีประสิทธิภาพที่เพียงพอที่จะนำมาใช้ในการต่อสู้กับปัญหาการหลบหลีกภาษีอากรได้
- ไชยยศ เหมะรัชตะ (1972) “นิติกรรมอำพราง”, in CUIR at Chulalongkorn University[1] (in Thai) (pdf), Bangkok: บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, retrieved 2019-01-14, page ง