เพิกถอน
Jump to navigation
Jump to search
Thai
[edit]Etymology
[edit]From เพิก (pə̂ək, “to remove”) + ถอน (tɔ̌ɔn, “to remove”).
Pronunciation
[edit]Orthographic | เพิกถอน e b i k tʰ ɒ n | |
Phonemic | เพิก-ถอน e b i k – tʰ ɒ n | |
Romanization | Paiboon | pə̂ək-tɔ̌ɔn |
Royal Institute | phoek-thon | |
(standard) IPA(key) | /pʰɤːk̚˥˩.tʰɔːn˩˩˦/(R) |
Verb
[edit]เพิกถอน • (pə̂ək-tɔ̌ɔn) (abstract noun การเพิกถอน)
- (formal) to abrogate; to cancel; to revoke.
- 1925, พระราชกฤษฎีกาให้ใช้บทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ ๑ และบรรพ ๒ ที่ได้ตรวจชำระใหม่ ลงวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๔๖๘:
- มาตรา ๒๓๗ เจ้าหนี้ชอบที่จะร้องขอให้ศาลเพิกถอนเสียได้ซึ่งนิติกรรมใด ๆ อันลูกหนี้ได้กระทำลงทั้งรู้อยู่ว่า จะเป็นทางให้เจ้าหนี้เสียเปรียบ แต่ความข้อนี้ท่านมิให้ใช้บังคับถ้าปรากฏว่า ในขณะที่ทำนิติกรรมนั้น บุคคลซึ่งเป็นผู้ได้ลาภงอกแต่การนั้นมิได้รู้เท่าถึงข้อความจริงอันเป็นทางให้เจ้าหนี้ต้องเสียเปรียบนั้นด้วย
- mâat-dtraa sɔ̌ɔng rɔ́ɔi sǎam-sìp jèt jâao-nîi chɔ̂ɔp tîi jà rɔ́ɔng-kɔ̌ɔ hâi sǎan pə̂ək-tɔ̌ɔn sǐia dâai sʉ̂ng ní-dtì-gam dai dai an lûuk-nîi dâai grà-tam long táng rúu yùu wâa jà bpen taang hâi jâao-nîi sǐia-bprìiap dtɛ̀ɛ kwaam kɔ̂ɔ níi tân mí hâi chái bang-káp tâa bpraa-gòt wâa nai kà-nà tîi tam ní-dtì-gam nán bùk-kon sʉ̂ng bpen pûu dâai lâap-ngɔ̂ɔk dtɛ̀ɛ gaan nán mí dâai rúu-tâo tʉ̌ng kɔ̂ɔ-kwaam-jing an bpen taang hâi jâao-nîi dtɔ̂ng sǐia-bprìiap nán dûai
- Section 237 An obligee is entitled to demand the court to rescind any juristic act which an obligor commits knowing that it will prejudice the obligee; provided, however, that, this provision shall not apply if it appears that any person who benefits from such act did not know, at the time of such act, the fact that the obligee is to be prejudiced.
- 1976, พระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติบรรพ ๕ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ได้ตรวจชำระใหม่ พ.ศ. ๒๕๑๙:
- มาตรา ๑๔๖๗ เมื่อสมรสแล้ว จะเปลี่ยนแปลงเพิกถอนสัญญาก่อนสมรสนั้นไม่ได้ นอกจากจะได้รับอนุญาตจากศาล
- mâat-dtraa nʉ̀ng pan sìi rɔ́ɔi hòk-sìp jèt mʉ̂ʉa sǒm-rót lɛ́ɛo jà bplìian-bplɛɛng pə̂ək-tɔ̌ɔn sǎn-yaa-gɔ̀ɔn-sǒm-rót nán mâi dâai nɔ̂ɔk-jàak jà dâai-ráp à-nú-yâat jàak sǎan
- Section 1467 After marriage, the prenuptial agreement may not be altered or revoked without the approval of the court.
- 2007, รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐:
- มาตรา ๓๒...ในกรณีที่มีการกระทำซึ่งกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพตามวรรคหนึ่ง ผู้เสียหาย พนักงานอัยการ หรือบุคคลอื่นใดเพื่อประโยชน์ของผู้เสียหาย มีสิทธิร้องต่อศาลเพื่อให้สั่งระงับหรือเพิกถอนการกระทำเช่นว่านั้น
- mâat-dtraa sǎam-sìp sɔ̌ɔng...nai gà-rá-nii tîi mii gaan-grà-tam sʉ̂ng grà-tóp dtɔ̀ɔ sìt-tí lɛ́ sěe-rii-pâap dtaam wák nʉ̀ng pûu-sǐia-hǎai pá-nák-ngaan-ai-yá-gaan rʉ̌ʉ bùk-kon ʉ̀ʉn dai pʉ̂ʉa bprà-yòot kɔ̌ɔng pûu-sǐia-hǎai mii sìt-tí rɔ́ɔng dtɔ̀ɔ sǎan pʉ̂ʉa hâi sàng rá-ngáp rʉ̌ʉ pə̂ək-tɔ̌ɔn gaan-grà-tam chêen wâa nán
- Section 32...In the event that there happens an act which affects the rights and liberties under Paragraph 1, the victim, a public prosecutor, or any other person in the interest of the victim has the right to apply to the court for an order suppressing or revoking the said act.
- 1925, พระราชกฤษฎีกาให้ใช้บทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ ๑ และบรรพ ๒ ที่ได้ตรวจชำระใหม่ ลงวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๔๖๘: