เวรัมพวาต
Appearance
Thai
[edit]Etymology
[edit]เวรัมพ (“Veramba: name of a wind, after a sea of the same name”) + วาต (wâat, “wind”).
Pronunciation
[edit]Orthographic | เวรัมพวาต e w r ạ m b w ā t | |
Phonemic | เว-รำ-พะ-วาด e w – r å – b a – w ā ɗ | |
Romanization | Paiboon | wee-ram-pá-wâat |
Royal Institute | we-ram-pha-wat | |
(standard) IPA(key) | /weː˧.ram˧.pʰa˦˥.waːt̚˥˩/(R) |
Proper noun
[edit]เวรัมพวาต • (wee-ram-pá-wâat) (classifier ลูก)
- (Buddhism, elegant) Alternative form of เวรัมภวาต (wee-ram-pá-wâat)
- Pāli Canon, Aṭṭhakathā, Gijjha-jātaka:
- เธอบวชในศาสนาที่จะนำออกจากทุกข์เห็นปานนี้ เหตุไรจึงไม่เชื่อคำของผู้ที่หวังดี แม้ในกาลก่อนเธอก็ไม่เชื่อคำ ต้องแหลกละเอียดในช่องลมเวรัมพวาตมาแล้ว
- təə bùuat nai sàat-sà-nǎa tîi jà nam ɔ̀ɔk jàak túk hěn bpaan níi · hèet-rai jʉng mâi chʉ̂ʉa kam kɔ̌ɔng pûu tîi wǎng-dii · mɛ́ɛ nai gaan gɔ̀ɔn təə gɔ̂ mâi chʉ̂ʉa kam · dtɔ̂ng lɛ̀ɛk-lá-ìiat nai chɔ̂ng lom wee-ram-pá-wâat maa lɛ́ɛo
- Why, Brother, after being ordained in so excellent a doctrine that leads to Salvation, do you not listen to the voice of your well-wishers? Formerly too you disobeyed the voice of the wise, and were blown into atoms by the Veramba wind.
- พญาแร้งนั้น แม้รับคำว่าดีแล้ว ก็จริง แต่วันหนึ่งเมื่อฝนตกใหม่ ๆ ได้บินไปกับนกแร้งทั้งหลาย ทิ้งนกแร้งหลายเสีย ตนเองบินสูงเกินภูมิของนก ถึงช่องลมเวรัมพวาต ได้ถึงความเป็นผู้แหลกละเอียด
- pá-yaa rɛ́ɛng nán · mɛ́ɛ ráp-kam wâa dii lɛ́ɛo · gɔ̂ jing · dtɛ̀ɛ wan nʉ̀ng mʉ̂ʉa fǒn dtòk mài mài · dâai bin bpai gàp nók rɛ́ɛng táng-lǎai · tíng nók rɛ́ɛng lǎai sǐia · dton-eeng bin sǔung gəən puum kɔ̌ɔng nók · tʉ̌ng chɔ̂ng lom wee-ram-pá-wâat · dâai tʉ̌ng kwaam bpen pûu lɛ̀ɛk-lá-ìiat
- He said, "Very good," but one day when it rained, he flew up with the other vultures, and leaving the rest behind, and going beyond the prescribed limit, he came within the range of the Veramba wind, and was blown into atoms.
- เธอบวชในศาสนาที่จะนำออกจากทุกข์เห็นปานนี้ เหตุไรจึงไม่เชื่อคำของผู้ที่หวังดี แม้ในกาลก่อนเธอก็ไม่เชื่อคำ ต้องแหลกละเอียดในช่องลมเวรัมพวาตมาแล้ว
- Pāli Canon, Aṭṭhakathā, Gijjha-jātaka: