ขุนนาง
Jump to navigation
Jump to search
Thai
[edit]Etymology
[edit]Believed to be from (1) ขุน (kǔn, “lord”) + นาง (naang, “lady”), literally “lord of ladies”, according to Dan Beach Bradley and Luang Wichitwathakan who explained that the term refers to a man in authority who owns a harem of women,[1] or (2) ขุน (kǔn, “lord”) + นาง (naang, “lady”), literally “lord and lady”, according to Damrong Rajanubhab who explained that the term refers to the embodiment of a man in authority and his wife.[1]
Pronunciation
[edit]Orthographic | ขุนนาง kʰ u n n ā ŋ | |
Phonemic | ขุน-นาง kʰ u n – n ā ŋ | |
Romanization | Paiboon | kǔn-naang |
Royal Institute | khun-nang | |
(standard) IPA(key) | /kʰun˩˩˦.naːŋ˧/(R) |
Noun
[edit]ขุนนาง • (kǔn-naang) (classifier คน)
- (historical) public servant; public official; mandarin; bureaucrat.
- 1875, “สัญญาเชียงใหม่ ลงวันพุธ แรม ๑๒ ค่ำ เดือนยี่ จ.ศ. ๑๒๓๖”, in ประชุมกฎหมายประจำศก, volume 8, พระนคร: โรงพิมพ์เดลิเมล์, published 1935, page 148:
- ตระลาการที่เมืองเชียงใหม่ต้องส่งสำเนาหนังสือสัญญาซื้อไม้นั้นให้แก่ขุนนางอังกฤษที่ตั้งอยู่เขตรแดนยองสะลิน
- dtrà-laa-gaan tîi mʉʉang chiiang-mài dtɔ̂ng sòng sǎm-nao nǎng-sʉ̌ʉ sǎn-yaa sʉ́ʉ máai nán hâi-gɛ̀ɛ kǔn-naang ang-grìt tîi dtâng yùu kèet-dɛɛn yɔɔng-sà-lin
- The magistrate at the town of Chiang Mai must send a copy of such written agreement on timber purchase unto the English official who is based on the Yongsalin border.
- ตระลาการที่เมืองเชียงใหม่ต้องส่งสำเนาหนังสือสัญญาซื้อไม้นั้นให้แก่ขุนนางอังกฤษที่ตั้งอยู่เขตรแดนยองสะลิน
- 1863, “สัญญาที่องค์สมเด็จพระนโรดมฯ ว่าถูกบังคับให้ลงนามให้ทำกับฝรั่งเศสเมื่อวันที่ ๑๑ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๐๖”, in ไทยสถาปนากษัตริย์เขมร, พระนคร: สำนักทำเนียบนายกรัฐมนตรี, published 1962, page 106:
- (historical) nobleperson; person of noble rank; member of nobility.
Usage notes
[edit]- Under the Thai feudal system, the term specifically refers to public officials entitled to at least 400 fiefs.[2]
Synonyms
[edit]- กวาน (gwaan)
- ข้าราชการ (kâa-râat-chá-gaan)
- ข้าราชสำนัก
- เจ้าพนักงาน (jâao-pá-nák-ngaan)
- เจ้าหน้าที่ของรัฐ
- เจ้าหน้าที่บ้านเมือง
- บาทมูลิกากร
- มนตรี (mon-dtrii)
- ราชภัฏ
- ลูกขุน (lûuk-kǔn)
- เสวก (sěe-wók)
- อมาตย์
Derived terms
[edit]- ขุนนางใช่พ่อแม่ หินแง่ใช่ตายาย
- ขุนน้ำขุนนาง
- ยศช้างขุนนางพระ
- สภาขุนนาง (sà-paa-kǔn-naang)
- ออกขุนนาง
See also
[edit]- (noble ranks) บรรดาศักดิ์ (ban-daa-sàk); สมเด็จเจ้าพระยา (sǒm-dèt-jâao-prá-yaa), เจ้าพระยา (jâao-prá-yaa), พระยา (prá-yaa), พระ (prá), หลวง (lǔuang), ขุน (kǔn), หมื่น (mʉ̀ʉn), พัน (pan), นาย (naai) (Category: Thai noble ranks)
References
[edit]- ↑ 1.0 1.1 บวรศักดิ์, ปดิวลดา (2024 May 21) ““ขุนนาง” คำนี้มีที่มาจากไหน ไว้เรียกผู้ชาย แต่ทำไมใช้ “นาง””, in silpa-mag.com[1] (in Thai)
- ^ ราชบัณฑิตยสภา (2020) พจนานุกรมโบราณศัพท์ ฉบับราชบัณฑิตยสภา (in Thai), กรุงเทพฯ: สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, →ISBN, page 48: “ขุนนาง น. ข้าราชการที่ได้รับพระราชทานสัญญาบัตร ตามปรกติต้องมีศักดินาตั้งแต่ ๔๐๐ ขึ้นไป”