ใคร ๆ
Appearance
Thai
[edit]Etymology
[edit]Reduplication of ใคร (krai)
Pronunciation
[edit]Orthographic | ใคร ๆ au g r « | |
Phonemic | ไคฺร-ไคฺร ai g ̥ r – ai g ̥ r | |
Romanization | Paiboon | krai-krai |
Royal Institute | khrai-khrai | |
(standard) IPA(key) | /kʰraj˧.kʰraj˧/(R) |
Pronoun
[edit]- anybody
- Paul M. Handley (2006) The King Never Smiles[1] (in Thai), 04 ปริศนา
ฆาตกรรม, page 11 - ใครฆ่าอานันท์? จนถึงปัจจุบัน ทั้งที่มันส่งผลน่าสลดต่อชีวิตของผู้คนจำนวนมาก คำตอบยังคงเป็นปริศนา ภูมิพลก็อยากปล่อยไว้อย่างนั้น มากกว่าใครๆ ทั้งหมด ความตายของอานันท์ได้เบิกรอยแยกทางการเมืองและชวนให้หวนนึกถึงการฆ่าช้างเอางา ฆ่าพระยาเอาเมืองในยุคสมัยอยุธยา และขณะที่มันส่งผลให้ราชสำนักมาอยู่ในใจกลางทางการเมือง สถาบันกษัตริย์ก็กลับโดดเด่นขึ้นมา และท้ายที่สุด ก็ฟื้นอำนาจกลับคืนมาอย่างมาก
- krai kâa aa-nan? · jon tʉ̌ng bpàt-jù-ban · táng tîi man sòng pǒn nâa sà-lòt dtɔ̀ɔ chii-wít kɔ̌ɔng pûu kon jam-nuuan mâak · kam-dtɔ̀ɔp yang kong bpen bprìt-sà-nǎa · puu-mí-pon gɔ̂ yàak bplɔ̀i wái yàang nán · mâak-gwàa krai-krai · táng-mòt · kwaam-dtaai kɔ̌ɔng aa-nan dâai bə̀ək rɔɔi yɛ̂ɛk taang gaan-mʉʉang lɛ́ chuuan hâi hǔuan nʉ́k tʉ̌ng gaan-kâa-cháang-ao-ngaa · kâa prá-yaa ao mʉʉang nai yúk sà-mǎi à-yút-tá-yaa · lɛ́ kà-nà tîi man sòng pǒn hâi râat sǎm-nák maa yùu nai jai glaang taang gaan-mʉʉang · sà-tǎa-ban gà-sàt gɔ̂ glàp dòot-dèen kʉ̂n maa · lɛ́ táai tîi sùt · gɔ̂ fʉ́ʉn am-nâat glàp kʉʉn maa yàang mâak
- Who killed Ananda? Up until now, although it had a tragic effect on the lives of many people, the answer is still a mystery. Bhumibol wanted to leave it that way, more than anyone else. Ananda's death opened a political rift and was reminiscent of killing an elephant for its tusks or killing its lord to to take a city in the Ayutthayan period, and it put the royal court in the centre of politics. The monarchy became prominent, and, in the end, it has greatly regained its power.
- ใครฆ่าอานันท์? จนถึงปัจจุบัน ทั้งที่มันส่งผลน่าสลดต่อชีวิตของผู้คนจำนวนมาก คำตอบยังคงเป็นปริศนา ภูมิพลก็อยากปล่อยไว้อย่างนั้น มากกว่าใครๆ ทั้งหมด ความตายของอานันท์ได้เบิกรอยแยกทางการเมืองและชวนให้หวนนึกถึงการฆ่าช้างเอางา ฆ่าพระยาเอาเมืองในยุคสมัยอยุธยา และขณะที่มันส่งผลให้ราชสำนักมาอยู่ในใจกลางทางการเมือง สถาบันกษัตริย์ก็กลับโดดเด่นขึ้นมา และท้ายที่สุด ก็ฟื้นอำนาจกลับคืนมาอย่างมาก
- Paul M. Handley (2006) The King Never Smiles[1] (in Thai), 04 ปริศนา