ละเมิดอำนาจศาล
Appearance
Thai
[edit]Etymology
[edit]From ละเมิด (lá-mə̂ət, “to violate”) + อำนาจ (am-nâat, “authority; power”) + ศาล (sǎan, “court”); literally "to violate court's authority" or "to violate the authority of the court".
Pronunciation
[edit]Orthographic | ละเมิดอำนาจศาล l a e m i ɗ ɒ å n ā t͡ɕ ɕ ā l | |
Phonemic | ละ-เมิด-อำ-นาด-สาน l a – e m i ɗ – ɒ å – n ā ɗ – s ā n | |
Romanization | Paiboon | lá-mə̂ət-am-nâat-sǎan |
Royal Institute | la-moet-am-nat-san | |
(standard) IPA(key) | /la˦˥.mɤːt̚˥˩.ʔam˧.naːt̚˥˩.saːn˩˩˦/(R) |
Noun
[edit]ละเมิดอำนาจศาล • (lá-mə̂ət-am-nâat-sǎan)
- (law) contempt of court.
- 2019 August 28, ชนกนันท์ เสรีธรรมาชน, “ย้อนที่มาละเมิดอำนาจศาล รธน. ‘เมื่อศาลพเนจร’ ฟังจากตุลาการศาล รธน. - กรธ.”, in Voice TV[1], Bangkok: Voice TV, retrieved 2019-08-28:
- การวิจารณ์คำสั่งหรือคำวินิจฉัยคดีที่กระทำโดยสุจริตและมิได้ใช้ถ้อยคำหรือมีความหมายหยาบคาย เสียดสี หรืออาฆาตมาดร้าย ไม่มีความผิดฐานละเมิดอำนาจศาล
- gaan-wí-jaan kam-sàng rʉ̌ʉ kam-wí-nít-chǎi ká-dii tîi grà-tam dooi sùt-jà-rìt lɛ́ mí dâai chái tɔ̂i-kam rʉ̌ʉ mii kwaam-mǎai yàap-kaai · sìiat-sǐi · rʉ̌ʉ aa-kâat-mâat-ráai · mâi mii kwaam-pìt tǎan lá-mə̂ət-am-nâat-sǎan
- A criticism which is made in good faith [on] an order or ruling [in any legal] case and does not employ a language or contain a meaning [that is] rude, satirical, or malicious does not constitute an offence of contempt of court.
- นายปิยบุตรยังกล่าวอีกว่า คำว่า ละเมิดอำนาจศาล ในทางหลักการ...ศาลกำลังนั่งบัลลังก์พิจารณาคดีและมีการขัดขวางการพิจารณา มีการปิดล้อมศาล มีการก่อความไม่สงบ หรือขัดคำสั่งศาล อย่างนี้จึงเรียกว่า เป็นการละเมิดอำนาจศาล และไม่เกี่ยวอะไรกับการวิพากษ์วิจารณ์ ดังนั้น การวิจารณ์คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ต่อให้ทำโดยไม่สุจริต หยาบคาย เสียดสี ก็ไม่ถือเป็นการละเมิดอำนาจศาล
- naai bpì-yá bùt yang glàao ìik wâa · kam wâa · lá-mə̂ət-am-nâat-sǎan · nai taang làk-gaan ... sǎan gam-lang nâng ban-lang pí-jaa-rá-naa ká-dii lɛ́ mii gaan-kàt-kwǎang gaan-pí-jaa-rá-naa · mii gaan-bpìt-lɔ́ɔm sǎan · mii gaan-gɔ̀ɔ kwaam mâi sà-ngòp · rʉ̌ʉ kàt kam-sàng sǎan · yàang níi jʉng rîiak wâa · bpen gaan-lá-mə̂ət-am-nâat-sǎan · lɛ́ mâi gìao à-rai gàp gaan-wí-pâak-wí-jaan · dang-nán · gaan-wí-jaan kam-wí-nít-chǎi kɔ̌ɔng sǎan-rát-tà-tam-má-nuun · dtɔ̀ɔ-hâi tam dooi mâi sùt-jà-rìt · yàap-kaai · sìiat-sǐi · gɔ̂ mâi tʉ̌ʉ bpen gaan-lá-mə̂ət-am-nâat-sǎan
- Mr Piyabut stated also that, principally, the term "contempt of court"...[refers to the event in which] the court is sitting on the bench [for] trying a case and there happens to be an act of obstructing the trial, there takes place an act of blocking the court, [or] there is an act of causing unrest or contravening a court order. Things like these are considered to be acts of contempt of court, and there is nothing to do with an act of commenting or criticising [court decision]. So, criticism on rulings of the Constitutional Court, even made in bad faith [or in a] rude [or] satirical [manner], is not deemed to be an act of contempt of court.
- การวิจารณ์คำสั่งหรือคำวินิจฉัยคดีที่กระทำโดยสุจริตและมิได้ใช้ถ้อยคำหรือมีความหมายหยาบคาย เสียดสี หรืออาฆาตมาดร้าย ไม่มีความผิดฐานละเมิดอำนาจศาล
- 1935 June 20, “ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง”, in ห้องสมุดกฎหมาย[2], Bangkok: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, published 2019-03-21, archived from the original on 9 February 2021:
- มาตรา ๓๓ ถ้าคู่ความฝ่ายใดหรือบุคคลใดกระทำความผิดฐานละเมิดอำนาจศาลใด ให้ศาลนั้นมีอำนาจสั่งลงโทษ...(ก) ไล่ออกจากบริเวณศาล หรือ (ข) ให้ลงโทษจำคุก หรือปรับ หรือทั้งจำทั้งปรับ
- mâat-dtraa · 3 3 · tâa kûu-kwaam fàai dai rʉ̌ʉ bùk-kon dai grà-tam kwaam-pìt tǎan lá-mə̂ət-am-nâat-sǎan dai · hâi sǎan nán mii am-nâat sàng long-tôot ... (gɔɔ) · lâi ɔ̀ɔk jàak bɔɔ-rí-ween sǎan · rʉ̌ʉ · (kɔ̌ɔ) · hâi long-tôot jam-kúk · rʉ̌ʉ bpràp · rʉ̌ʉ táng jam táng bpràp
- Section 33 Should any party or any person commit an offence of contempt of any court, such court shall have the power to order the infliction of [this] penalty [upon that party or person]:...(a) ejecting [him] out of the court precincts or (b) ordering the infliction of [a term of] imprisonment or a fine or both the imprisonment [term] and the fine.
- มาตรา ๓๓ ถ้าคู่ความฝ่ายใดหรือบุคคลใดกระทำความผิดฐานละเมิดอำนาจศาลใด ให้ศาลนั้นมีอำนาจสั่งลงโทษ...(ก) ไล่ออกจากบริเวณศาล หรือ (ข) ให้ลงโทษจำคุก หรือปรับ หรือทั้งจำทั้งปรับ
Verb
[edit]ละเมิดอำนาจศาล • (lá-mə̂ət-am-nâat-sǎan) (abstract noun การละเมิดอำนาจศาล)
- (law) to commit contempt of court.