อนุญาโตตุลาการ
Jump to navigation
Jump to search
Thai
[edit]Etymology
[edit]From อนุญาโต (“permitted; having received permission”) + ตุลาการ (dtù-laa-gaan, “judge”).
Pronunciation
[edit]Orthographic | อนุญาโตตุลาการ ɒ n u ɲ ā o t t u l ā k ā r | |
Phonemic | อะ-นุ-ยา-โต-ตุ-ลา-กาน ɒ a – n u – y ā – o t – t u – l ā – k ā n | |
Romanization | Paiboon | à-nú-yaa-dtoo-dtù-laa-gaan |
Royal Institute | a-nu-ya-to-tu-la-kan | |
(standard) IPA(key) | /ʔa˨˩.nu˦˥.jaː˧.toː˧.tu˨˩.laː˧.kaːn˧/(R) |
Noun
[edit]อนุญาโตตุลาการ • (à-nú-yaa-dtoo-dtù-laa-gaan) (classifier คน)
- (law) arbitrator; arbitration.
- 2019 April 14, “พระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒”, in ราชกิจจานุเบกษา[1], volume 136, number 49 A, Bangkok: สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, retrieved 2019-10-06, page 63:
- มาตรา ๒๓/๑ คู่พิพาทอาจตั้งคนต่างด้าวเป็นอนุญาโตตุลาการคนเดียวหรือหลายคนเพื่อดำเนินการทางอนุญาโตตุลาการในราชอาณาจักรได้
- mâat-dtraa · yîi-sìp sǎam / nʉ̀ng · kûu-pí-pâat àat dtâng kon-dtàang-dâao bpen à-nú-yaa-dtoo-dtù-laa-gaan kon diao rʉ̌ʉ lǎai kon pʉ̂ʉa dam-nəən gaan taang à-nú-yaa-dtoo-dtù-laa-gaan nai râat-chá-aa-naa-jàk dâai
- Section 23/1 The parties may appoint one or several aliens as arbitrators to carry out arbitration-related proceedings in the Kingdom.
- มาตรา ๒๓/๑ คู่พิพาทอาจตั้งคนต่างด้าวเป็นอนุญาโตตุลาการคนเดียวหรือหลายคนเพื่อดำเนินการทางอนุญาโตตุลาการในราชอาณาจักรได้
- 2002 April 29, “พระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. ๒๕๔๕”, in ราชกิจจานุเบกษา[2], volume 119, number 39 A, Bangkok: สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, archived from the original on 14 April 2019, page 3:
- มาตรา ๑๑ สัญญาอนุญาโตตุลาการ หมายถึง สัญญาที่คู่สัญญาตกลงให้ระงับข้อพิพาททั้งหมดหรือบางส่วนที่เกิดขึ้นแล้วหรือที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตไม่ว่าจะเกิดจากนิติสัมพันธ์ทางสัญญาหรือไม่โดยวิธีอนุญาโตตุลาการ
- mâat-dtraa · sìp èt · sǎn-yaa à-nú-yaa-dtoo-dtù-laa-gaan · mǎai tʉ̌ng · sǎn-yaa tîi kûu-sǎn-yaa dtòk-long hâi rá-ngáp kɔ̂ɔ-pí-pâat táng-mòt rʉ̌ʉ baang sùuan tîi gə̀ət kʉ̂n lɛ́ɛo rʉ̌ʉ tîi àat gə̀ət kʉ̂n nai à-naa-kót mâi-wâa jà gə̀ət jàak ní-dtì-sǎm-pan taang sǎn-yaa rʉ̌ʉ mâi dooi wí-tii à-nú-yaa-dtoo-dtù-laa-gaan
- Section 11 Arbitration contract denotes a contract by which the parties agree that a dispute which has arisen or which may arise in the future, whether or not from a contract-related legal relationship, be settled by means of arbitration.
- มาตรา ๑๑ สัญญาอนุญาโตตุลาการ หมายถึง สัญญาที่คู่สัญญาตกลงให้ระงับข้อพิพาททั้งหมดหรือบางส่วนที่เกิดขึ้นแล้วหรือที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตไม่ว่าจะเกิดจากนิติสัมพันธ์ทางสัญญาหรือไม่โดยวิธีอนุญาโตตุลาการ
- 2002 April 29, “พระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. ๒๕๔๕”, in ราชกิจจานุเบกษา[3], volume 119, number 39 A, Bangkok: สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, archived from the original on 14 April 2019, page 4:
- 2002 April 29, “พระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. ๒๕๔๕”, in ราชกิจจานุเบกษา[4], volume 119, number 39 A, Bangkok: สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, archived from the original on 14 April 2019, page 7:
- มาตรา ๒๔ คณะอนุญาโตตุลาการมีอำนาจวินิจฉัยขอบเขตอำนาจของตนรวมถึงความมีอยู่หรือความสมบูรณ์ของสัญญาอนุญาโตตุลาการ
- mâat-dtraa · yîi-sìp sìi · ká-ná à-nú-yaa-dtoo-dtù-laa-gaan mii am-nâat wí-nít-chǎi kɔ̀ɔp-kèet am-nâat kɔ̌ɔng dton ruuam tʉ̌ng kwaam-mii-yùu rʉ̌ʉ kwaam-sǒm-buun kɔ̌ɔng sǎn-yaa à-nú-yaa-dtoo-dtù-laa-gaan
- Section 24 The arbitration committee has the power to rule upon the scope of its own powers as well as the existence and validity of the arbitration contract.
- มาตรา ๒๔ คณะอนุญาโตตุลาการมีอำนาจวินิจฉัยขอบเขตอำนาจของตนรวมถึงความมีอยู่หรือความสมบูรณ์ของสัญญาอนุญาโตตุลาการ
Derived terms
[edit]- การอนุญาโตตุลาการ (“arbitration”)