ฉ้อโกง
Appearance
Thai
[edit]Etymology
[edit]From ฉ้อ (chɔ̂ɔ, “to cheat”) + โกง (goong, “to cheat”).
Pronunciation
[edit]Orthographic | ฉ้อโกง t͡ɕʰ ˆ ɒ o k ŋ | |
Phonemic | ช่อ-โกง d͡ʑ ˋ ɒ – o k ŋ | |
Romanization | Paiboon | chɔ̂ɔ-goong |
Royal Institute | cho-kong | |
(standard) IPA(key) | /t͡ɕʰɔː˥˩.koːŋ˧/(R) |
Noun
[edit]ฉ้อโกง • (chɔ̂ɔ-goong)
- (criminal law) fraud.
- สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (2017 March 24) “ประมวลกฎหมายอาญา”, in ห้องสมุดกฎหมาย[1] (in Thai), Bangkok: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, archived from the original on 3 October 2019
- มาตรา ๓๔๑ ผู้ใดโดยทุจริตหลอกลวงผู้อื่นด้วยการแสดงข้อความอันเป็นเท็จหรือปกปิดข้อความจริงซึ่งควรบอกให้แจ้ง และโดยการหลอกลวงดังว่านั้นได้ไปซึ่งทรัพย์สินจากผู้ถูกหลอกลวงหรือบุคคลที่สาม หรือทำให้ผู้ถูกหลอกลวงหรือบุคคลที่สามทำ ถอน หรือทำลายเอกสารสิทธิ ผู้นั้นกระทำความผิดฐานฉ้อโกง ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
- mâat-dtraa · sǎam-rɔ́ɔi sìi-sìp èt · pûu dai dooi tút-jà-rìt lɔ̀ɔk-luuang pûu ʉ̀ʉn dûai gaan-sà-dɛɛng kɔ̂ɔ-kwaam an bpen tét rʉ̌ʉ bpòk-bpìt kɔ̂ɔ-kwaam jing sʉ̂ng kuuan bɔ̀ɔk hâi jɛ̂ɛng · lɛ́ dooi gaan-lɔ̀ɔk-luuang dang wâa nán dâai bpai sʉ̂ng sáp-sǐn jàak pûu tùuk lɔ̀ɔk-luuang rʉ̌ʉ bùk-kon-tîi-sǎam · rʉ̌ʉ tam hâi pûu tùuk lɔ̀ɔk-luuang rʉ̌ʉ bùk-kon-tîi-sǎam tam · tɔ̌ɔn · rʉ̌ʉ tam-laai èek-gà-sǎan-sìt-tí · pûu nán grà-tam kwaam-pìt tǎan chɔ̂ɔ-goong · dtɔ̂ng rá-waang-tôot jam-kúk mâi gəən sǎam bpii · rʉ̌ʉ bpràp mâi gəən hòk mʉ̀ʉn bàat · rʉ̌ʉ táng jam táng bpràp
- Section 341 [When] anyone dishonestly deceives another by giving false information or concealing true information which should clearly be told and, by such deception, obtains property from the deceived person or a third person or causes the deceived person or a third person to make, revoke, or destroy a title document, that one commits an offence of fraud and shall be liable to imprisonment for not more than three years, or a fine of not exceeding sixty thousand baht, or both.
- มาตรา ๓๕๗ ผู้ใดช่วยซ่อนเร้น ช่วยจำหน่าย ช่วยพาเอาไปเสีย ซื้อ รับจำนำ หรือรับไว้โดยประการใดซึ่งทรัพย์อันได้มาโดยการกระทำความผิด ถ้าความผิดนั้นเข้าลักษณะลักทรัพย์ วิ่งราวทรัพย์ กรรโชก รีดเอาทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ ฉ้อโกง ยักยอก หรือเจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์ ผู้นั้นกระทำความผิดฐานรับของโจร ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
- mâat-dtraa · sǎam-rɔ́ɔi hâa-sìp jèt · pûu dai chûai sɔ̂ɔn-réen · chûai jam-nàai · chûai paa ao bpai sǐia · sʉ́ʉ · ráp jam-nam · rʉ̌ʉ ráp wái dooi bprà-gaan dai sʉ̂ng sáp an dâai maa dooi gaan-grà-tam kwaam-pìt · tâa kwaam-pìt nán kâo lák-sà-nà lák-sáp · wîng-raao-sáp · gan-chôok · rîit-ao-sáp · ching-sáp · bplôn-sáp · chɔ̂ɔ-goong · yák-yɔ̂ɔk · rʉ̌ʉ jâao-pá-nák-ngaan yák-yɔ̂ɔk sáp · pûu nán grà-tam kwaam-pìt tǎan ráp-kɔ̌ɔng-joon · dtɔ̂ng rá-waang-tôot jam-kúk mâi gəən hâa bpii · rʉ̌ʉ bpràp mâi gəən nʉ̀ng sɛ̌ɛn bàat · rʉ̌ʉ táng jam táng bpràp
- Section 357 [When] anyone helps conceal, helps dispose of, helps take away, buys, accepts a pledge of, or receives in whatever manner a thing which has been obtained through the commission of an offence, if such offence bears any of the characteristics of theft, snatching, extortion, blackmailing, robbery, gang-robbery, fraud, embezzlement, or embezzlement of things by public officials, that one commits an offence of handling stolen goods and shall be liable to imprisonment for not more than five years, or a fine of not exceeding one hundred thousand baht, or both.
- มาตรา ๓๔๑ ผู้ใดโดยทุจริตหลอกลวงผู้อื่นด้วยการแสดงข้อความอันเป็นเท็จหรือปกปิดข้อความจริงซึ่งควรบอกให้แจ้ง และโดยการหลอกลวงดังว่านั้นได้ไปซึ่งทรัพย์สินจากผู้ถูกหลอกลวงหรือบุคคลที่สาม หรือทำให้ผู้ถูกหลอกลวงหรือบุคคลที่สามทำ ถอน หรือทำลายเอกสารสิทธิ ผู้นั้นกระทำความผิดฐานฉ้อโกง ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
- สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (2017 March 24) “ประมวลกฎหมายอาญา”, in ห้องสมุดกฎหมาย[1] (in Thai), Bangkok: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, archived from the original on 3 October 2019
Related terms
[edit]- กลฉ้อฉล (gon-chɔ̂ɔ-chǒn)