ลักทรัพย์
Appearance
Thai
[edit]Etymology
[edit]From ลัก (lák, “to steal”) + ทรัพย์ (sáp, “thing (corporeal object); property (corporeal or incorporeal object)”).
Pronunciation
[edit]Orthographic | ลักทรัพย์ l ạ k d r ạ b y ʻ | |
Phonemic | ลัก-ซับ l ạ k – z ạ ɓ | |
Romanization | Paiboon | lák-sáp |
Royal Institute | lak-sap | |
(standard) IPA(key) | /lak̚˦˥.sap̚˦˥/(R) |
Noun
[edit]ลักทรัพย์ • (lák-sáp)
- (law) theft.
- สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (2017 March 24) “ประมวลกฎหมายอาญา”, in ห้องสมุดกฎหมาย[1] (in Thai), Bangkok: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, archived from the original on 3 October 2019
- มาตรา ๓๓๔ ผู้ใดเอาทรัพย์ของผู้อื่นหรือที่ผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วยไปโดยทุจริต ผู้นั้นกระทำความผิดฐานลักทรัพย์ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปีและปรับไม่เกินหกหมื่นบาท
- mâat-dtraa · sǎam-rɔ́ɔi sǎam-sìp sìi · pûu dai ao sáp kɔ̌ɔng pûu ʉ̀ʉn rʉ̌ʉ tîi pûu ʉ̀ʉn bpen jâao-kɔ̌ɔng-ruuam yùu dûai bpai dooi tút-jà-rìt · pûu nán grà-tam kwaam-pìt tǎan lák-sáp · dtɔ̂ng rá-waang-tôot jam-kúk mâi gəən sǎam bpii lɛ́ bpràp mâi gəən hòk mʉ̀ʉn bàat
- Section 334 [When] anyone dishonestly takes away a thing which belongs to another or which is co-owned by another, that one commits an offence of theft and shall be liable to imprisonment for not more than three years and a fine of not exceeding sixty thousand baht.
- มาตรา ๓๓๔ ผู้ใดเอาทรัพย์ของผู้อื่นหรือที่ผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วยไปโดยทุจริต ผู้นั้นกระทำความผิดฐานลักทรัพย์ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปีและปรับไม่เกินหกหมื่นบาท
- สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (2017 March 24) “ประมวลกฎหมายอาญา”, in ห้องสมุดกฎหมาย[1] (in Thai), Bangkok: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, archived from the original on 3 October 2019
Verb
[edit]ลักทรัพย์ • (lák-sáp) (abstract noun การลักทรัพย์)
- (law) to commit a theft.
- รัฐบาลไทย (1904 January 17) “ประกาศแก้ไขกฎหมาย เรื่อง ญาติลักทรัพย์กันเอง ลงวันที่ ๑๔ มกราคม ร.ศ. ๑๒๒ (พ.ศ.๒๔๔๖)”, in ราชกิจจานุเบกษา[2] (in Thai), volume 20, number 42 (pdf), Bangkok: สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, pages 270–271
- กฎหมายเดิมในเรื่องญาติลักทรัพย์กันเองไม่ให้มีโทษนั้นเปนโอกาศให้ผู้ทุจริตคิดร้ายแก่ญาติของตน
- gòt-mǎai dəəm nai rʉ̂ʉang yâat lák-sáp gan-eeng mâi hâi mii tôot nán bpen oo-gàat hâi pûu tút-jà-rìt kít ráai gɛ̀ɛ yâat kɔ̌ɔng dton
- The old law with respect to the exemption of penalties for relatives who commit thefts against each other gives opportunities for dishonest persons to harbour evil thoughts against their own relatives.
- กฎหมายเดิมในเรื่องญาติลักทรัพย์กันเองไม่ให้มีโทษนั้นเปนโอกาศให้ผู้ทุจริตคิดร้ายแก่ญาติของตน
- สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (2017 March 24) “ประมวลกฎหมายอาญา”, in ห้องสมุดกฎหมาย[3] (in Thai), Bangkok: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, archived from the original on 3 October 2019
- มาตรา ๓๓๖ ผู้ใดลักทรัพย์โดยฉกฉวยเอาซึ่งหน้า ผู้นั้นกระทำความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปีและปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
- mâat-dtraa · sǎam-rɔ́ɔi sǎam-sìp hòk · pûu dai lák-sáp dooi chòk-chǔai ao sʉ̂ng-nâa · pûu nán grà-tam kwaam-pìt tǎan wîng-raao-sáp · dtɔ̂ng rá-waang-tôot jam-kúk mâi gəən hâa bpii lɛ́ bpràp mâi gəən nʉ̀ng sɛ̌ɛn bàat
- Section 336 [When] anyone steals a thing by grabbing or seizing it away in the presence [of the victim], that one commits an offence of snatching and shall be liable to imprisonment for not more than five years and a fine of not exceeding one hundred thousand baht.
- มาตรา ๓๓๖ ผู้ใดลักทรัพย์โดยฉกฉวยเอาซึ่งหน้า ผู้นั้นกระทำความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปีและปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
- รัฐบาลไทย (1904 January 17) “ประกาศแก้ไขกฎหมาย เรื่อง ญาติลักทรัพย์กันเอง ลงวันที่ ๑๔ มกราคม ร.ศ. ๑๒๒ (พ.ศ.๒๔๔๖)”, in ราชกิจจานุเบกษา[2] (in Thai), volume 20, number 42 (pdf), Bangkok: สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, pages 270–271