ดึกดำบรรพ์
Appearance
Thai
[edit]Pronunciation
[edit]Orthographic | ดึกดำบรรพ์ ɗ ụ k ɗ å ɓ r r b ʻ | |
Phonemic | ดึก-ดำ-บัน ɗ ụ k – ɗ å – ɓ ạ n | |
Romanization | Paiboon | dʉ̀k-dam-ban |
Royal Institute | duek-dam-ban | |
(standard) IPA(key) | /dɯk̚˨˩.dam˧.ban˧/(R) |
Etymology 1
[edit]From Old Khmer dïka (“water”) + tpañ (“to weave; to spin; etc”).[1][2]
Alternative forms
[edit]- (archaic) ดึกดำบรร
Proper noun
[edit]ดึกดำบรรพ์ • (dʉ̀k-dam-ban)
- (archaic, Hinduism) Samudra Manthana, an event in the Hindu mythology.[1]
Noun
[edit]ดึกดำบรรพ์ • (dʉ̀k-dam-ban)
- (archaic) dramatic performance reenacting or depicting such event, being part of some royal ceremonies.[2]
- 1469, “กฎมนเทิยรบาล”, in กฎหมายตรา ๓ ดวง เล่ม ๑ ฉบับพิมพ์มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง, Bangkok: สุขภาพใจ, published 2005, →ISBN, page 109:
- ดำรวจเลกเปนรูปอสูร ๑๐๐ มหาดเลกเปนเทพดา ๑๐๐ เปนพาลีสุครีพมหาชมพูแลบริวารพานร ๑๐๓ ชักนาคดึกดำบรร อสูรชักหัว เทพดาชักหาง พานรอยู่ปลายหาง(dam-rùuat-lék bpen rûup à-sǔun · rɔ́ɔi-nʉ̀ng · má-hàat-lék bpen têep-pá-daa · rɔ́ɔi-nʉ̀ng · bpen paa-lii sù-krîip má-hǎa-chom-puu lɛɛ bɔɔ-rí-waan paa-nɔɔn · rɔ́ɔi-sǎam · chák nâak dʉ̀k-dam-ban · à-sǔun chák hǔua · têep-pá-daa chák hǎang · paa-nɔɔn yùu bplaai hǎang)
Etymology 2
[edit]From ดึก (dʉ̀k, “deeply”) + ด่ำ (dàm, “exceedingly”) + บรรพ์ (“primitive; primeval”).[1]
Adjective
[edit]ดึกดำบรรพ์ • (dʉ̀k-dam-ban) (abstract noun ความดึกดำบรรพ์)
Derived terms
[edit]- ชนิดดึกดำบรรพ์
- ซากดึกดำบรรพ์ (sâak-dʉ̀k-dam-ban)
- ยุคดึกดำบรรพ์
- วงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์
- สมัยดึกดำบรรพ์
Etymology 3
[edit]After the theatre where the performance was debuted; debuted in 1899; no longer performed since 1909.[3]
Noun
[edit]ดึกดำบรรพ์ • (dʉ̀k-dam-ban)
References
[edit]- ↑ 1.0 1.1 1.2 สำนักงานราชบัณฑิตยสภา (2023) “ดึกดำบรรพ์”, in นานาสาระภาษาและวัฒนธรรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสภา (in Thai), สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, →ISBN, page 54:
- คำว่า ดึกดำบรรพ์ เป็นคำที่มีที่มา ๒ ทาง คำหนึ่งมาจากภาษาเขมรว่า ทึกตมฺบาญ แปลว่า การกวนน้ำ หมายถึง การกวนน้ำอมฤตของเทวดากับอสูรเพื่อเอาน้ำอมฤตมาชุบชีวิตผู้ที่ตายในสงครามระหว่างเทวดากับอสูร...อีกคำหนึ่ง ประกอบด้วย คำว่า ลึก หรือ ดึก ล้ำ หรือ ด่ำ และคำว่า บรรพ์ แปลว่า ก่อน ดึกดำบรรพ์ คำนี้จึงแปลว่า ลึกล้ำแต่เก่าก่อน ลึกล้ำนมนานมาแล้ว
- ↑ 2.0 2.1 ราชบัณฑิตยสภา (2020) พจนานุกรมโบราณศัพท์ ฉบับราชบัณฑิตยสภา (in Thai), กรุงเทพฯ: สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, →ISBN, page 113: “ดึกดำบรร <ดึกดำบรรพ์> (ข. ทึก = น้ำ + ตฺรบาญ่ = ฟั่น, ทำให้เป็นเกลียว) น. ดึกดำบรรพ์, การละเล่นชักนาคกวนน้ำอมฤต เป็นการละเล่นในพระราชพิธีอินทราภิเษกเป็นต้น”
- ^ ครีเอทมีเดีย สตูดิโอ (n.d.) “ละครดึกดำบรรพ์”, in นาฏศิลป์ไทย[1] (in Thai), Bangkok: ครีเอทมีเดีย สตูดิโอ, archived from the original on 14 August 2018
Categories:
- Rhymes:Thai/an
- Thai terms with IPA pronunciation
- Thai 3-syllable words
- Thai terms borrowed from Old Khmer
- Thai terms derived from Old Khmer
- Thai lemmas
- Thai proper nouns
- Thai terms spelled with รร
- Thai terms with archaic senses
- th:Hinduism
- Thai nouns
- Thai terms with usage examples
- Thai compound terms
- Thai adjectives