บุษบก
Appearance
Thai
[edit]Etymology
[edit]Borrowed from Sanskrit पुष्पक (puṣpaka, literally “flowery”); possibly after Puṣpaka, the flying castle of the demon king Rāvaṇa in the Hindu epic Rāmāyaṇa.[1][2] Cognate with Khmer បុស្បុក (bohbok), Lao ບຸດສະບົກ (but sa bok).
Pronunciation
[edit]Orthographic | บุษบก ɓ u ʂ ɓ k | |
Phonemic | บุด-สะ-บก ɓ u ɗ – s a – ɓ k | |
Romanization | Paiboon | bùt-sà-bòk |
Royal Institute | but-sa-bok | |
(standard) IPA(key) | /but̚˨˩.sa˨˩.bok̚˨˩/(R) |
Noun
[edit]บุษบก • (bùt-sà-bòk) (classifier หลัง)
References
[edit]- ^ ราชบัณฑิตยสภา (2020) พจนานุกรมโบราณศัพท์ ฉบับราชบัณฑิตยสภา (in Thai), กรุงเทพฯ: สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, →ISBN, page 178:
- บุษบก (ส. ปุษปก = เกี่ยวข้องกับดอกไม้, ชื่อวิมานหรือยานทิพย์ของท้าวกุเวร) น. เรือนโถงขนาดย่อม ทำเป็นฐานสี่เหลี่ยม มีเสาขึ้นไปทั้ง ๔ มุม เครื่องบนทำเป็นเครื่องยอดทรงปราสาท สร้างสำหรับพระมหากษัตริย์เสด็จประทับเวลาเสด็จออกว่าราชการหรือเวลารับราชทูตเป็นต้น เช่น เสดจ์ออกพระธี่นั่งบุษบกมาลามหาจักรพรรดิพิมาน (สามดวง: พระธรรมสาตร)
- ^ ราชบัณฑิตยสภา (2015) กฎหมายตราสามดวง: พระธรรมศาสตรและหลักอินทภาษ ฉบับราชบัณฑิตยสภา (in Thai), กรุงเทพฯ: สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, →ISBN, page 154:
- ผศ. ดร.จิรพัฒน์ ประพันธ์วิทยา: ในเรื่องรามเกียรติ์ของอินเดีย บุษบกใช้เป็นพาหนะทางอากาศของทศกัณฐ์ซึ่งยึดมาจากท้าวกุเวร
นายจุลทัศน์ พยาฆรานน์: บุษบุกหมายถึงเรือนยอดรูปทรงสี่เหลี่ยม ประกอบด้วยฐานมีเสา ๔ ต้น ตั้งพื้นตรงมุมฐานทั้ง ๔ รับเครื่องบนอย่างเครื่องยอดทรงปราสาท บุษบกใช้เป็นที่พระมหากษัตริย์เสด็จประทับออกว่าราชการ ใช้ประดิษฐานพระพุทธปฏิมากร ส่วนบุษบกในวรรณคดีหมายถึงยานวิเศษลอยไปได้ในท้องฟ้า